การประเมินประสิทธิภาพในการกระตุ้นการแข็งตัวของเลือด ของสารสกัดสมุนไพรไทย

เมื่อนำใบสาบเสือ (Eupatorium odoratum Linn.) สาบแร้งสาบกา (Ageratum conyzoides Linn.) หนุมานประสานกาย (Schefflera leucantha Vig.) หนุมานนั่งแท่น (Jatropha podagrica Hook.f.) และบัวบก (Centella asiatica Urban) ที่อบแห้งมาสกัดด้วยน้ำ หรือ 95% เอทานอล และนำสารสกัดไปใช้แทนแคลเซียมในการทดสอบ PT และ APTT...

Full description

Bibliographic Details
Main Authors: วัชรีพร เกษมราษฎร์, สมศักดิ์ จันทร์น้อย, สุดใจ ปาวิชัย, ลัดดา วงศ์พายัพกุล
Format: Article
Language:English
Published: Chaing Mai University 2008-01-01
Series:Journal of Associated Medical Sciences
Subjects:
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/bulletinAMS/article/view/60116
_version_ 1811202417151180800
author วัชรีพร เกษมราษฎร์
สมศักดิ์ จันทร์น้อย
สุดใจ ปาวิชัย
ลัดดา วงศ์พายัพกุล
author_facet วัชรีพร เกษมราษฎร์
สมศักดิ์ จันทร์น้อย
สุดใจ ปาวิชัย
ลัดดา วงศ์พายัพกุล
author_sort วัชรีพร เกษมราษฎร์
collection DOAJ
description เมื่อนำใบสาบเสือ (Eupatorium odoratum Linn.) สาบแร้งสาบกา (Ageratum conyzoides Linn.) หนุมานประสานกาย (Schefflera leucantha Vig.) หนุมานนั่งแท่น (Jatropha podagrica Hook.f.) และบัวบก (Centella asiatica Urban) ที่อบแห้งมาสกัดด้วยน้ำ หรือ 95% เอทานอล และนำสารสกัดไปใช้แทนแคลเซียมในการทดสอบ PT และ APTT พบว่าสารสกัดด้วยน้ำของสมุนไพรทั้งห้าชนิด กระตุ้นให้เกิดการแข็งตัวของพลาสมาวัวได้ดีกว่าสารสกัดด้วย 95% เอทานอล โดยที่ความเข้มข้น 10 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร กระตุ้นให้เกิดการแข็งตัวของพลาสมาวัวได้ดีที่สุดเมื่อตรวจวัดปริมาณแคลเซียมอิออน (Ca2+) ที่มีอยู่ในสารสกัดความเข้มข้น 10 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร พบว่าสารสกัดด้วยน้ำมีปริมาณ Ca2+ มากกว่าสารสกัดด้วย 95% เอทานอล สารสกัดด้วยน้ำของสาบเสือ สาบแร้งสาบกา หนุมานประสานกาย และบัวบก กระตุ้นให้เกิดการแข็งตัวของพลาสมาวัวได้ดีใกล้เคียงกัน และดีกว่าการกระตุ้นด้วยสารสกัดด้วยน้ำของหนุมาน นั่งแท่น โดยฤทธ์ิการกระตุ้นดังกล่าวมีความสัมพันธ์กับปริมาณ Ca2+ ที่ตรวจพบในสารสกัดแต่ละชนิด เมื่อนำสารสกัด ด้วยน้ำของสมุนไพรทั้ง 5 ชนิดไปเตรียมเป็นยาเตรียมรูปแบบเจลที่มี hydroxypropyl methycellulose (HPMC) เป็นสารก่อเจล และนำเจลไปทดสอบ PT พบว่าสามารถทำให้พลาสมาวัวเกิดการแข็งตัวได้ ดังนั้นสารสกัดด้วยน้ำของ สมุนไพรทั้ง 5 ชนิด อาจเป็นประโยชน์ต่อการนำไปเตรียมเป็นตำรับยาเพื่อใช้ห้ามเลือดไหลต่อไป วารสารเทคนิค การแพทย์เชียงใหม่ 2551; 41: 15-26.
first_indexed 2024-04-12T02:39:19Z
format Article
id doaj.art-ebae36f49845447d9788e3afac8c024d
institution Directory Open Access Journal
issn 2539-6056
2539-6056
language English
last_indexed 2024-04-12T02:39:19Z
publishDate 2008-01-01
publisher Chaing Mai University
record_format Article
series Journal of Associated Medical Sciences
spelling doaj.art-ebae36f49845447d9788e3afac8c024d2022-12-22T03:51:22ZengChaing Mai UniversityJournal of Associated Medical Sciences2539-60562539-60562008-01-01411151560116การประเมินประสิทธิภาพในการกระตุ้นการแข็งตัวของเลือด ของสารสกัดสมุนไพรไทยวัชรีพร เกษมราษฎร์0สมศักดิ์ จันทร์น้อย1สุดใจ ปาวิชัย2ลัดดา วงศ์พายัพกุล31 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาควิชาเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2 ภาควิชาเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3 สายวิชาวิทยาศาสตร์เภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 4 บริษัท นีโอพลาสท์ จำกัด 53/1 ซ. สุขาภิบาล 2 อ. ลาดหลุมแก้ว จ. ปทุมธานี 121401 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาควิชาเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2 ภาควิชาเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3 สายวิชาวิทยาศาสตร์เภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 4 บริษัท นีโอพลาสท์ จำกัด 53/1 ซ. สุขาภิบาล 2 อ. ลาดหลุมแก้ว จ. ปทุมธานี 121401 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาควิชาเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2 ภาควิชาเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3 สายวิชาวิทยาศาสตร์เภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 4 บริษัท นีโอพลาสท์ จำกัด 53/1 ซ. สุขาภิบาล 2 อ. ลาดหลุมแก้ว จ. ปทุมธานี 121401 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาควิชาเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2 ภาควิชาเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3 สายวิชาวิทยาศาสตร์เภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 4 บริษัท นีโอพลาสท์ จำกัด 53/1 ซ. สุขาภิบาล 2 อ. ลาดหลุมแก้ว จ. ปทุมธานี 12140เมื่อนำใบสาบเสือ (Eupatorium odoratum Linn.) สาบแร้งสาบกา (Ageratum conyzoides Linn.) หนุมานประสานกาย (Schefflera leucantha Vig.) หนุมานนั่งแท่น (Jatropha podagrica Hook.f.) และบัวบก (Centella asiatica Urban) ที่อบแห้งมาสกัดด้วยน้ำ หรือ 95% เอทานอล และนำสารสกัดไปใช้แทนแคลเซียมในการทดสอบ PT และ APTT พบว่าสารสกัดด้วยน้ำของสมุนไพรทั้งห้าชนิด กระตุ้นให้เกิดการแข็งตัวของพลาสมาวัวได้ดีกว่าสารสกัดด้วย 95% เอทานอล โดยที่ความเข้มข้น 10 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร กระตุ้นให้เกิดการแข็งตัวของพลาสมาวัวได้ดีที่สุดเมื่อตรวจวัดปริมาณแคลเซียมอิออน (Ca2+) ที่มีอยู่ในสารสกัดความเข้มข้น 10 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร พบว่าสารสกัดด้วยน้ำมีปริมาณ Ca2+ มากกว่าสารสกัดด้วย 95% เอทานอล สารสกัดด้วยน้ำของสาบเสือ สาบแร้งสาบกา หนุมานประสานกาย และบัวบก กระตุ้นให้เกิดการแข็งตัวของพลาสมาวัวได้ดีใกล้เคียงกัน และดีกว่าการกระตุ้นด้วยสารสกัดด้วยน้ำของหนุมาน นั่งแท่น โดยฤทธ์ิการกระตุ้นดังกล่าวมีความสัมพันธ์กับปริมาณ Ca2+ ที่ตรวจพบในสารสกัดแต่ละชนิด เมื่อนำสารสกัด ด้วยน้ำของสมุนไพรทั้ง 5 ชนิดไปเตรียมเป็นยาเตรียมรูปแบบเจลที่มี hydroxypropyl methycellulose (HPMC) เป็นสารก่อเจล และนำเจลไปทดสอบ PT พบว่าสามารถทำให้พลาสมาวัวเกิดการแข็งตัวได้ ดังนั้นสารสกัดด้วยน้ำของ สมุนไพรทั้ง 5 ชนิด อาจเป็นประโยชน์ต่อการนำไปเตรียมเป็นตำรับยาเพื่อใช้ห้ามเลือดไหลต่อไป วารสารเทคนิค การแพทย์เชียงใหม่ 2551; 41: 15-26.https://www.tci-thaijo.org/index.php/bulletinAMS/article/view/60116สารสกัดสมุนไพรการแข็งตัวของเลือดแคลเซียมอิออนการสกัดด้วยน้ำและ 95% เอทานอล
spellingShingle วัชรีพร เกษมราษฎร์
สมศักดิ์ จันทร์น้อย
สุดใจ ปาวิชัย
ลัดดา วงศ์พายัพกุล
การประเมินประสิทธิภาพในการกระตุ้นการแข็งตัวของเลือด ของสารสกัดสมุนไพรไทย
Journal of Associated Medical Sciences
สารสกัดสมุนไพร
การแข็งตัวของเลือด
แคลเซียมอิออน
การสกัดด้วยน้ำและ 95% เอทานอล
title การประเมินประสิทธิภาพในการกระตุ้นการแข็งตัวของเลือด ของสารสกัดสมุนไพรไทย
title_full การประเมินประสิทธิภาพในการกระตุ้นการแข็งตัวของเลือด ของสารสกัดสมุนไพรไทย
title_fullStr การประเมินประสิทธิภาพในการกระตุ้นการแข็งตัวของเลือด ของสารสกัดสมุนไพรไทย
title_full_unstemmed การประเมินประสิทธิภาพในการกระตุ้นการแข็งตัวของเลือด ของสารสกัดสมุนไพรไทย
title_short การประเมินประสิทธิภาพในการกระตุ้นการแข็งตัวของเลือด ของสารสกัดสมุนไพรไทย
title_sort การประเมินประสิทธิภาพในการกระตุ้นการแข็งตัวของเลือด ของสารสกัดสมุนไพรไทย
topic สารสกัดสมุนไพร
การแข็งตัวของเลือด
แคลเซียมอิออน
การสกัดด้วยน้ำและ 95% เอทานอล
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/bulletinAMS/article/view/60116
work_keys_str_mv AT wạchrīphrkesʹmrāsʹḍr kārprameinprasithṭhiphāphnıkārkratûnkārkhængtạwkhxngleụxdkhxngsārskạdsmunphịrthịy
AT smṣạkdicạnthrnxy kārprameinprasithṭhiphāphnıkārkratûnkārkhængtạwkhxngleụxdkhxngsārskạdsmunphịrthịy
AT sudcıpāwichạy kārprameinprasithṭhiphāphnıkārkratûnkārkhængtạwkhxngleụxdkhxngsārskạdsmunphịrthịy
AT lạddāwngṣphāyạphkul kārprameinprasithṭhiphāphnıkārkratûnkārkhængtạwkhxngleụxdkhxngsārskạdsmunphịrthịy